วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560


บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

          การจัดทำโครงการครั้งนี้ เป็นการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการ นำเสนอการสรุปผลการดำเนินโครงการ อภิปรายผล  และข้อเสนอแนะตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้
          5.1 สรุปผล
          5.2 อภิปรายผล
          5.3 ข้อเสนอแนะ
                   5.3.1 ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้
                   5.3.2 ข้อเสนอแนะในการขยายผลการวิจัย
5.1 สรุปผล
          5.1.1 วัตถุประสงค์
                   5.1.1.1 เพื่อสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
                   5.1.1.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
                   5.1.1.3 เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้ใจของผู้ใช้
พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่าน  แอพพลิเคชั่นมือถือ
          5.1.2 ขอบเขตของโครงการ
                   5.1.2.1 คุณสมบัติของโครงการ
                   5.1.2.2 ควบคุมพัดลมผ่านมือถือและอุณหภูมิ
                   5.1.2.3 ขั้นตอนการใช้งาน
                             1) ตรวจสอบความพร้อมของชิ้นงาน
2) เสียบปลั๊กโดยใช้ไฟ 220V to 9V เปิดสวิตช์เลือกโหมดที่ต้องการใช้งานใน  การทดลอง
                             3) เชื่อมต่อ Bluetooth HC-06 เพื่อเปิดการใช้งานในโหมด Manual
                             4) เปิดแอพพลิเคชั่นที่ใช้สำหรับควบคุมพัดลม
                             5) เลือกโหมด Auto เพื่อใช้งานอัตโนมัติ
                             6) สรุปผลการทดลอง


5.1.3 ผลการดำเนินโครงการ
          ผลการดำเนินโครงการพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ ได้ออกแบบสอบถามโดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมิน มีรายระเอียดดังนี้
5.1.3.1 ด้านการออกแบบ อยู่ในระดับมาก ( = 4.12, S.D.= .64)
5.1.3.2 ด้านการใช้งาน อยู่ในระดับมาก ( = 4.24, S.D.= .59)
                   5.1.3.3ด้านคุณภาพ อยู่ในระดับมาก ( = 4.3, S.D.= .62)
5.2 อภิปรายผล
          การทดสอบพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือข้างต้นพบว่า พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ สามารถควบคุมพัดลมได้ในระยะไกลโดยใช้แอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์สำหรับควบคุมพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือระบบเชื่อมต่อเป็นบลูทูธและอุณหภูมิระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ที่ใช้ควบคุมปรับความเร็วและอุณหภูมิของพัดลมใช้ไฟฟ้ากระแส 220V. to 9V. ผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือซึ่งจะทำให้สามารถควบคุมการเปิด-ปิดหรือความเร็วของพัดลมผ่านระบบควบคุมไร้สายประหยัดเวลาในการใช้งานมากและช่วยลดการใช้พลังงานอีกทั้งเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้
 5.3 ข้อเสนอแนะ
          1) ควรศึกษาวิธีการใช้งานอย่างละเอียด
          2) ควรแนะนำการติดตั้งให้กับผู้ใช้งาน
          3) ควรนำไปใช้กับโทรศัพท์ที่เป็นระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
          5.3.1 ข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้
                   เราสามารถควบคุมพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือไปใช้งานโดยนำไปควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านได้  เช่น หลอดไฟ,หม้อหุงข้าว เป็นต้น                   
          5.3.2 ข้อเสนอแนะในการขยายผลของโครงการ
                   ในการจัดทำโครงการพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือผู้ดำเนินโครงการได้เสนอการขยายผลของโครงการโดยที่เพิ่มเซ็นเซอร์ DHT11 2 ตัว เพื่อให้สามารถตรวจจับอุณหภูมิได้แม่นยำขึ้น 

ที่มา : http://www.elec-cafe.com/dht11-temperature-and-humidity-with-lcd-display

บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล


บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

          การดำเนินโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ 3. เพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือโดยคณะผู้จัดทำโครงการ ได้นำเสนอผลการดำเนินการโครงการ และการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับหัวข้อดังนี้
                   4.1 ขั้นตอนและวิธีการทดลอง พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
                   4.2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
                   4.3 แสดงค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ด้านการออกแบบ ด้านการใช้งาน และด้านคุณภาพ มีรายละเอียดดังนี้
4.1 ขั้นตอนการทดลอง
          4.1.1 ตรวจสอบความพร้อมของชิ้นงาน
          4.1.2 เสียบปลั๊กโดยใช้ไฟ 220V to 9V เปิดสวิตช์เลือกโหมดที่ต้องการใช้งานในการทดลอง
          4.1.3 เชื่อมต่อ Bluetooth HC-06 เพื่อเปิดการใช้งานในโหมด Manual
          4.1.4 เปิดแอพพลิเคชั่นที่ใช้สำหรับควบคุมพัดลม
          4.1.5 เลือกโหมด Auto เพื่อใช้งานอัตโนมัติ
          4.1.6 สรุปผลการทดลอง
4.2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
          เพื่อให้การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีความสะดวก และง่ายต่อการทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ดำเนินโครงการจึงได้กำหนดลักษณ์ที่ใช้แทนตัวแปรและค่าสถิติต่างๆ ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
          X        แทน    ค่าเฉลี่ย

          S.D.     แทน    ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
         ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ ด้านการออกแบบ ด้านการใช้งาน  และด้านคุณภาพ



ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านการใช้งานของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ
ความคิดเห็นด้านการออกแบบ
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
S.D.
1. มีความทนทานแข็งแรง
2. มีความเหมาะสมกับการใช้งาน
3. เคลื่อนย้ายได้สะดวก
4. มีความทันสมัย
5. ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก
3.9
4.3
3.9
4.4
4.1
.74
.48
.57
.7
.74
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
รวม
4.12
.64
มาก

ตารางประกอบที่ 5 พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านการใช้งานของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่าน     แอพพลิเคชั่นมือถือ
          โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ( = 4.12, S.D.= .64) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 ข้อ คือ โดยมีข้อเฉลี่ย 3 อันดับแรกคือ มีความทันสมัย ( = 4.4, S.D.= .7) รองลงมาคือ ความเหมาะสม ( = 4.3, S. D.= .48) และ ใช้งานไม่ยุ่งยาก ( = 4.1, S.D.= .74 ) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ สามารถนำไปใช้เชิงพาณิชย์ได้ ( = 3.9, S.D.= .57)



ตารางที่ 6  แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านการออกแบบของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
ความคิดเห็นด้านการใช้งาน
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
S.D.
1. มีความปลอดภัยในการใช้งาน
2. ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของผู้ใช้
3. มีคู่มือการใช้งานชัดเจน
4. ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน
5. สามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้
4.5
4.1
4.2
4.2
4.2

.53
.74
.63
.63
.42
มาก
มาก
มาก
มาก
มาก
รวม
4.24
.59
มาก

ตารางประกอบที่ 6  พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านการออกแบบของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
          โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี ( = 4.24, S.D.= .59) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมาก จำนวน 5 ข้อ โดยมีข้อเฉลี่ย 3 อันดับแรกคือ มีความปลอดภัยในใช้งาน ( = 4.5, S.D.= .53) รองลงมาคือ ช่วยประหยัดเวลาในการทำงาน ( = 42, S. D.= .63) และ มีคู่มือการใช้งานชัดเจน ( = 4.2, S.D.= .63) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ของผู้ใช้ ( = 4.1, S.D.= .74)




ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลความหมายความคิดเห็นด้านคุณภาพของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
ความคิดเห็นด้านคุณภาพ
ระดับความคิดเห็น
การแปลผล
X
S.D.
1. ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์
2. ใช้ได้ทั่วไปในทุกภูมิภาค
3. มีลดแรงงานในการผลิต
4. ลดต้นทุนในการผลิต
5. คุณภาพชีวิดีขึ้น
4.3
4.6
3.9
4.3
4.4
.67
.52
.74
.67
.52
มาก
มากที่สุด
มาก
มาก
มาก
รวม
4.3
.62
มาก

ตารางประกอบที่ 7 พบว่าความคิดเห็นของผู้ประเมินด้านคุณภาพของโครงการ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากสามารถนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้  ( = 4.3, S.D.= .62) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อยู่ในระดับมากจำนวน 1 ข้อ โดยมีข้อเฉลี่ย 5 อันดับแรก คือ ใช้ได้ทั่วไปในทุกภูมิภาค  ( = 4.6, S.D.= .52) รองลงมาคือ คุณภาพชีวิตดีขึ้น ( = 4.4, S. D.= .52) และ ลดต้นทุนในการผลิต ( = 4.3, S.D.= .67) ตามลำดับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ มีลดแรงงานในการผลิต ( = 3.9, S.D.= .74)

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ

บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ

โครงงานการออกแบบและสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ 3. เพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาและหาข้อมูลตามเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้
3.1 ศึกษาหลักการทำงานเพื่อหารายระเอียดเพื่อจัดทำพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ              
3.2 การออกแบบคำนวณและสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ       
3.3 การดำเนินงานสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ
          3.4 การหาประสิทธิภาพพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ
               มีรายละเอียดดังนี้
3.1 ศึกษาหลักการทำงานเพื่อหารายระเอียดเพื่อจัดการจัดสร้าง               
ศึกษาหลักการทำงานเพื่อหารายระเอียดเพื่อจัดสร้างโดยมีขั้นตอนต่างๆดังนี้
          3.1.1  การศึกษาข้อมูล
                   3.1.1.1 ระบบการทำงานของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือระบบออโต้สามารถปรับความเร็วตามอุณหภูมิได้ แสดงค่าอุณหภูมิและความเร็วของพัดลมบนจอ LCD เมื่ออุณหภูมิที่วัดได้อยู่ในค่าที่กำหนดไว้และระบบแมนนวล สามารถควบคุมความเร็วของพัดลมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือได้
                   3.1.1.2 อุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือซึ่งประกอบไปด้วย พัดลม, Arduino, โมดูล, Bluetooth-hc06, โทรศัพท์มือถือแอนดรอยด์, DHT11
                   3.1.1.3 การออกแบบและคำนวณชิ้นส่วนต่างๆเพื่อนำใช้งานออกแบบรูปแบบการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือคณะผู้จัดทำได้รวบรวมเอกสารจากขั้นตอนต่างๆ ข้างต้นเพื่อนำมาออกแบบ พัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือตามที่ได้ออกแบบซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่างดังนี้ กำหนดวัตถุประสงค์การสร้าง วิเคราะห์วัสดุที่จะนำมาสร้างออกแบบโครงการ กำหนดหลักการทำงานดำเนินการสร้างทดลองใช้และประเมินผลการใช้งาน
         
3.1.2 การระบุรายละเอียดรายการวัสดุ
          ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนในการวางแผนเลือกใช้วัสดุ โดยพิจารณาเลือกใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพเหมาะสมกับชิ้นส่วนต่างๆ ของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือให้มีความทนทานต่ออายุการใช้งาน
          3.1.3 ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ การออกแบบและคำนวณ การสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือคณะผู้จัดทำได้ใช้หลักการออกแบบและทฤษฎีต่างๆ ดังนี้
                             3.1.3.1 เริ่มการทำงาน
                             3.1.3.2 ศึกษาหาข้อมูล
                             3.1.3.3 ออกแบบเครื่อง
                             3.1.3.4 จัดหาอุปกรณ์
                             3.1.3.5 เริ่มสร้างเครื่อง
                             3.1.3.6 ทำการแก้ไข
                             3.1.3.7 ทำการทดลอง
                             3.1.3.8 สร้างเครื่องเสร็จ
                             3.1.3.9 ทำการวิเคราะห์และสรุป
                             3.1.3.10 นำเสนอ
3.2 การออกแบบ คำนวณ และการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
          การออกแบบ คำนวณ และการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
ให้สามารถทำงานได้ ตามวัตถุประสงค์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
          3.2.1 การออกแบบพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
โดยคณะผู้จัดทำได้เริ่มจากการออกแบบวงจรบอร์ด พัดลม , Arduino , แอพพลิเคชั่น , โมดูล HC-06 , DHT11 , Relay 4 Channel , LCD จึงได้มีเขียนโปรแกรมคำสั่งภาษซี เพื่อมาสั่งการทำงานของวงจรและโปรแกรมแอพพลิเคชั่นสำหรับควบคุมพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือพบว่าโปรแกรมแอพพลิเคชั่นแอนดรอยด์และวงจรควบคุมผ่านอุณหภูมิจะสร้างความสะดวกสบายให้แกผู้ใช้งานในการเรียนการสอน
        
3.2.2 การคำนวณหาค่าประกอบต่างๆของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
จากการออกแบบพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือที่เหมาะสมโดยคณะผู้จัดทำได้ดำเนินการคำนวณ หาส่วนประกอบต่างๆของพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือโดยมี
รายละเอียดดังนี้
3.2.2.1 พัดลม 16 นิ้ว                                 1 ตัว
3.2.2.2 บอร์ดArduino Uno r3                     2 บอร์ด
3.2.2.3 Relay 4 CH                                  1 บอร์ด
3.2.2.4 โมดูล HC-06                                  1 ตัว
3.2.2.5 DHT11                                        1 ตัว
3.2.2.6 LCD                                            1 ตัว

3.3 การดำเนินงานสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
          ภายหลังจากการศึกษาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้อง คำนวณต่างๆ ออกแบบ และจัดเตรียมวัสดุเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงได้ทำการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือตามแบบที่กำหนดและทำการเพิ่มเติมบางส่วน ที่จำเป็นสามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆได้ดังนี้
          3.3.1 โครงสร้างวงจรพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือมาควบคุมการทำงานของพัดลมด้วยแอพพลิเคชั่นมือถือ และควบคุมด้วยอุณหภูมิมีขั้นตอนการเขียนโปรแกรมควบคุมและทดลองด้วยโปรแกรม Arduino
          3.3.2 การออกแบบระบบการทำงานของวงจรและแบบจำลองพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ

ภาพประกอบที่  64 แบบจำลองพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ
          จากการออกแบบเป็นส่วนสมมุติฐานชิ้นงานที่สมบูรณ์เนื่องจากลักษณะของชิ้นงานและรูปแบบภายนอกที่กลุ่มผู้จัดทำออกแบบให้มีความทันสมัย สะดวกต่อการใช้งาน
 3.3.3 ขั้นตอนกระบวนการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอปพลิเคชั่นมือถือ

                                                        



ภาพประกอบที่ 65 กระบวนการสร้างพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
3.4 การหาประสิทธิภาพพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ
                   3.4.1 การประกอบวงจรพัดลม 2 ระบบควบคุมผ่านแอพพลิเคชั่นมือถือ

                      ภาพประกอบที่ 66 การต่อวงจรพร้อมสำหรับการประกอบชิ้นงาน

                            ภาพประกอบที่ 67 นำอุปกรณ์ประกอบลงในฐานของพัดลม

                     ภาพประกอบที่ 68 ชิ้นงานที่ประกอบเสร็จเรียบร้อย พร้อมใช้งาน